วันพฤหัสบดีที่ 11 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559

บทที่ 1 หน้าที่พลเมืองและวัฒนธรรมไทย

บทที่ 1 หน้าที่พลเมืองและวัฒนธรรมไทย


บทที่ 1 หน้าที่พลเมืองและวัฒนธรรมไทย

สังคมประชาธิปไตยเป็นสังคมที่ยึดหลักความเท่าเทียมกันของบุคคลในสังคม ทั้งนี้ผู้ที่อาศัยอยู่ในสังคมประชาธิปไตยหรือพลเมืองในสังคมประชาธิปไตยจึงควรมีการปฏิบัติตนที่สอดคล้องและสัมพันธ์กับการปกครองในระบอบประชาธิปไตย
สาระการเรียนรู้ อ่านเพิ่ม

บทที่ 2 โครงสร้างทางสังคมและลักษณะของสังคมไทย

บทที่ 2 โครงสร้างทางสังคมและลักษณะของสังคมไทย

บทที่ 2 โครงสร้างทางสังคมและลักษณะของสังคมไทย
สังคมไทยเป็นสังคมที่มีโครงสร้างทางสังคมเช่นเดียวกับโครงสร้างทางสังคมทั่วไปในเรื่องของกลุ่มสังคมและสถาบันสังคม การที่สังคมไทยมีการเปลี่ยนแปลงมาโดยตลอด อ่านเพิ่ม

ทที่ 3 การเมืองการปกครอง

ทที่ 3 การเมืองการปกครอง

ที่การเมืองเป็นเรื่องเกี่ยวกับวิธีการได้มาซึ่งอำนาจในการปกครองและการบริหารราชการแผ่นดิน และการใช้อำนาจที่ได้มาเพื่อสร้างความผาสุกให้แก่ประชาชน อ่านเพิ่ม





บทที่4 พัฒนาการการเมืองการปกครองของไทย

บทที่4 พัฒนาการการเมืองการปกครองของไทย

บทที่4 พัฒนาการการเมืองการปกครองของไทย

การเมืองการปกครองของไทยในสมัยสุโขทัยและอยุธยาได้วิวัฒนาการมาสอดคล้อง กับสภาพสังคมและวัฒนธรรมไทยในสมัยนั้น ๆอ่านเพิ่ม

บทที่ 5 เรื่อง การปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข

บทที่ 5 เรื่อง การปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข

บทที่ 5 เรื่อง การปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข

สังคมทุกสังคมจะเจริญก้าวหน้าเป็นปึกแผ่นได้ ย่อมต้องมีระเบียบวินัยและผู้นำของสังคมเป็นหลักในการปกครอง ผู้นำของสังคมระดับประเทศโดยเฉพาะระบอบประชาธิปไตยส่วนใหญ่จะอยู่ในรูปแบบของประธานาธิบดีหรือพระมหากษัตริย์ สำหรับการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขนั้นอ่านเพิ่ม

บทที่ 6 เรื่อง รัฐสภา

บทที่ 6 เรื่อง รัฐสภา

บทที่ 6 เรื่อง รัฐสภา
รัฐสภามีหน้าที่ในการออกกฎหมาย ประกอบด้วยสภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภา สมาชิกรัฐสภาเป็นผู้แทนปวงชนทั้งประเทศ อ่านเพิ่ม

บทที่ 7 เรื่อง คณะรัฐมนตรี

บทที่ 7 เรื่อง คณะรัฐมนตรี

บทที่ 7 เรื่อง คณะรัฐมนตรี

คณะรัฐมนตรีเป็นคณะบุคคลที่มีอำนาจหน้าที่ในการบริหารราชการแผ่นดิน ซึ่งมีความสำคัญทั้งในด้านกฎหมาย ทางการเมือง และในทางอำนาจที่กำหนดไว้ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 กำหนดให้มีคณะรัฐมนตรีรวมทั้งสิ้นไม่เกิน 36 คน ประกอบด้วยนายกรัฐมนตรี 1 คน และรัฐมนตรีอื่นไม่เกิน 35 คน อ่านเพิ่ม